Hot! รางพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่..) พ.ศ. ….

รางพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่..)

พ.ศ. ….

_________________

……………………………………………………. ……………………………………………………. ……………………………………………………. ………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………..

           โดยที่เปนการสมควรแกไขเพิ่มเติมกฎหมายวาดวยสิทธิบัตรเพื่อคุมครองการประดิษฐและ การออกแบบผลิตภัณฑ

            พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่ง มาตรา 26 ประกอบกับมาตรา 37 และมาตรา 4๐ ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยบัญญัติใหกระทํา ไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย

            พระราชบัญญัตินี้มีสาระสําคัญเปนการปรับปรุงกระบวนการขอรับสิทธิบัตรใหมีประสิทธิภาพ กระชับ และมีความเปนสากล สอดคลองกับความตกลงระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิบัตรที่ประเทศไทยเปน ภาคีอยู รวมทั้งปองกันการลักลอบนําทรัพยากรพันธุกรรมและภูมิปญญาทองถิ่นมาขอรับสิทธิบัตรโดยไม เปดเผยแหลงที่มา จึงมีความจําเปนที่จะตองกําหนดมาตรการจํากัดสิทธิของผูทรงสิทธิบัตรในบางกรณี โดยมี การจํากัดสิทธิเสรีภาพและสิทธิในทรัพยสินเพียงเทาที่จําเปนเพื่อประโยชนสาธารณะ

            มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….”

            มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนด……….วันนับแตวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

           มาตรา ๓ ใหเพิ่มบทนิยามคําวา “ทรัพยากรพันธุกรรม” “สารพันธุกรรม” “อนุพันธ” “ภูมิปญญาทองถิ่น” ระหวางบทนิยามคําวา “แบบผลิตภัณฑ” และคําวา “ผูทรงสิทธิบัตร” ในมาตรา ๓ แหง พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒ ดังตอไปนี้

            ““ทรัพยากรพันธุกรรม” หมายถึง สารพันธุกรรมหรืออนุพันธซึ่งมีคุณคาตามความเปนจริง และตามศักยภาพ

            “สารพันธุกรรม” หมายถึง สารใดๆ ของพืช สัตว จุลินทรีย หรือแหลงกําเนิดอื่นๆ ซึ่งบรรจุ หนวยที่มีบทบาทหนาที่ในการสืบทอดพันธุกรรม

            “อนุพันธ” หมายถึง สารชีวเคมีที่ปรากฏขึ้นตามธรรมชาติ อันเปนผลมาจากการแสดงออก ของพันธุกรรม หรือ กระบวนการเมตาบอลิซึมของทรัพยากรชีวภาพหรือทรัพยากรพันธุกรรม แมวาจะไมบรรจุ หนวยที่มีบทบาทหนาที่ในการสืบทอดพันธุกรรม

            “ภูมิปญญาทองถิ่น” หมายถึง ความรูการแสดงออก การประพฤติปฏิบัติหรือทักษะ ทาง วัฒนธรรมที่แสดงออกผานบุคคล เครื่องมือ หรือวัตถุ ซึ่งบุคคล กลุมบุคคล หรือชุมชนยอมรับและรูสึกเปน เจาของรวมกัน และมีการสืบทอดกันมาจากคนรุนหนึ่งไปยังคนอีกรุนหนึ่งโดยอาจมีการปรับเปลี่ยนเพื่อ ตอบสนองตอสภาพแวดลอมของตน”

             มาตรา 4 ใหยกเลิกความใน (1) ของวรรคสองของมาตรา 6 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. ๒๕35 และใหใชความตอไปนี้ แทน

              “(๑) การประดิษฐที่มีหรือใชแพรหลายอยูแลวไมวาในหรือนอกราชอาณาจักรกอนวันขอรับ สิทธิบัตร”

               มาตรา 5 ใหยกเลิกความใน (3) ของวรรคสองของมาตรา 6 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒

               มาตรา 6 ใหยกเลิกความใน (4) และ (5) ของวรรคสองของมาตรา 6 แหงพระราชบัญญัติ สิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒ และใหใชความ ตอไปนี้แทน

               “(๔) การประดิษฐที่มีผูขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรไวแลวนอกราชอาณาจักรเปนเวลา เกินสิบแปดเดือนกอนวันขอรับสิทธิบัตร

                (๕) การประดิษฐที่ไดยื่นขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรไวกอนแลวในราชอาณาจักร แมวา ตอมาคําขอนั้นจะไดประกาศโฆษณาในวันหรือภายหลังวันที่มีการยื่นขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตรนั้นอีกใน ภายหลัง”

                  มาตรา 7 ใหยกเลิกความในวรรคสามของมาตรา 6 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. ๒๕35 และใหใชความตอไปนี้แทน

                  “ในกรณีที่มีการขอถือสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรกตามมาตรา 19 ทวิ ใหถือวาวันยื่นคําขอครั้ง แรกเปนวันยื่นคําขอรับสิทธิบัตรในราชอาณาจักร เพื่อประโยชนในการพิจารณางานที่ปรากฏอยูแลวตาม มาตรานี้”

                    มาตรา 8 ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา 6/1 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 “มาตรา ๖/๑ การเปดเผยสาระสําคัญหรือรายละเอียดภายในสิบสองเดือนกอนที่จะมีการ ขอรับสิทธิบัตรดังตอไปนี้ มิใหถือวาเปนการเปดเผยสาระสําคัญหรือรายละเอียดตามมาตรา ๖ วรรคสอง

                  (๑) การเปดเผยสาระสําคัญหรือรายละเอียดที่เกิดขึ้นหรือเปนผลมาจากการกระทําอันมิชอบ ดวยกฎหมาย

                  (๒) การเปดเผยสาระสําคัญหรือรายละเอียดโดยผูประดิษฐ

                  (๓) การแสดงผลงานของผูประดิษฐในงานแสดงตอสาธารณชนระหวางประเทศที่จัดขึ้นใน ราชอาณาจักรหรือประเทศที่เปนภาคีแหงอนุสัญญาหรือความตกลงระหวางประเทศเกี่ยวกับการคุมครอง สิทธิบัตรซึ่งประเทศไทยเปนภาคีอยูดวย โดยหนวยงานของรัฐบาลไทยหรือรัฐบาลของประเทศที่เปนภาคี ดังกลาวจัดขึ้น หรือรับรองการจัดงานนั้น

                   การเปดเผยสาระสําคัญหรือรายละเอียดโดยผูประดิษฐตาม (๒) หรืองานแสดงตอสาธารณชน ระหวางประเทศตาม (๓) ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดโดยกฎกระทรวง”

                  มาตรา 9 ใหยกเลิกความในวรรคหนึ่ง และ (4) ของวรรคหนึ่งของมาตรา 9 แหง พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. ๒๕35 และใหใชความตอไปนี้แทน “มาตรา ๙ สิ่งตอไปนี้ไมไดรับความคุมครองตามพระราชบัญญัติ

                  …

                  (๔) วิธีการวินิจฉัย บําบัด ศัลยกรรมหรือรักษาโรคของมนุษย หรือสัตว”

                    มาตรา 10 ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา 17/1 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522

                  “มาตรา 17/1 ในกรณีที่การประดิษฐตามคําขอรับสิทธิบัตรมีการใชทรัพยากรพันธุกรรม หรือภูมิปญญาทองถิ่น ใหผูขอรับสิทธิบัตรระบุแหลงที่มาและยื่นเอกสารที่เกี่ยวของกับการขออนุญาตกอนการ เขาถึงและขอตกลงแบงปนผลประโยชน มาพรอมกับคําขอรับสิทธิบัตร

                  การระบุแหลงที่มาและการยื่นเอกสารตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่ อธิบดีประกาศกําหนด”

                 มาตรา 11 ใหยกเลิกความในมาตรา 19 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535

                 มาตรา 12 ใหยกเลิกความในมาตรา 19 ทวิ แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 และใหใชความตอไปนี้แทน

                 “มาตรา ๑๙ ทวิ ผูยื่นคําขอรับสิทธิบัตร อาจขอถือสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรกได ตามเงื่อนไข ดังตอไปนี้

             (1) ในกรณีที่ผูขอรับสิทธิบัตรไดยื่นคําขอรับสิทธิบัตรสําหรับการประดิษฐไวนอก ราชอาณาจักรแลว หากตอมาไดยื่นขอรับสิทธิบัตรสําหรับการประดิษฐอยางเดียวกันนั้นในราชอาณาจักร ภายในสิบสองเดือน นับแตวันที่ไดยื่นคําขอรับสิทธิบัตรนอกราชอาณาจักร ผูขอรับสิทธิบัตรอาจขอถือสิทธิวัน ยื่นคําขอครั้งแรกในวันยื่นคําขอรับสิทธิบัตรนอกราชอาณาจักรได

             (2) ในกรณีคําขอระหวางประเทศที่แจงความประสงคจะขอรับความคุมครองใน ราชอาณาจักรมีการระบุวันยื่นคําขอครั้งแรกตามมาตรา 55/8 วรรคหนึ่ง หรือผูขอรับสิทธิบัตรไดรับอนุญาต ใหฟนสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรกตามมาตรา 55/8 วรรคสามแลว ผูขอรับสิทธิบัตรอาจขอถือสิทธิวันยื่นคําขอ ครั้งแรกในวันยื่นคําขอครั้งแรกที่ระบุในคําขอระหวางประเทศได

             (3) ในกรณีที่ไดยื่นคําขอรับสิทธิบัตรนอกราชอาณาจักรไวมากกวาหนึ่งคําขอ หากตอมาผูขอ ไดยื่นขอรับสิทธิบัตรสําหรับการประดิษฐนั้นในราชอาณาจักรภายในสิบสองเดือน นับแตวันยื่นคําขอนอก ราชอาณาจักรครั้งแรกสุด ผูขอรับสิทธิบัตรอาจขอถือสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรกในวันยื่นคําขอรับสิทธิบัตรครั้ง แรกสุดนอกราชอาณาจักรได

             (4) ในกรณีที่ไดยื่นคําขอรับสิทธิบัตรสําหรับการประดิษฐอยางเดียวกันนอกราชอาณาจักร แตคําขอนั้นถูกปฏิเสธ ถอนคืน หรือละทิ้งโดยปรากฏวาคําขอนั้นยังไมเคยประกาศโฆษณาหรือเปดเผยให สาธารณชนเขาถึงขอมูล และไมอาจดําเนินการใดตามกฎหมายในประเทศนั้นไดอีก และไมเคยใชอางในการขอ ถือสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรกในประเทศใดมากอน หากผูขอไดยื่นขอรับความคุมครองการประดิษฐอยาง เดียวกันซ้ําในประเทศเดิมอีก และตอมาไดยื่นคําขอรับสิทธิบัตรสําหรับการประดิษฐนั้นในราชอาณาจักร ภายในสิบสองเดือน นับแตวันที่ไดยื่นคําขอรับความคุมครองการประดิษฐครั้งหลัง ผูขอรับสิทธิบัตรอาจขอถือ สิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรกในวันยื่นคําขอรับสิทธิบัตรนอกราชอาณาจักรครั้งหลังได”

             มาตรา 13 ใหยกเลิกความในมาตรา 26 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 และให ใชความตอไปนี้แทน

             “มาตรา 2๖ ในการตรวจสอบคําขอรับสิทธิบัตร ถาพนักงานเจาหนาที่เห็นวาคําขอรับ สิทธิบัตรใดมีการประดิษฐหลายอยางที่ไมมีความเกี่ยวพันกันจนอาจถือไดวาเปนการประดิษฐอยางเดียวกัน ใหแจงใหผูขอรับสิทธิบัตรแยกคําขอสําหรับการประดิษฐแตละอยางภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงจาก พนักงานเจาหนาที่

             ถาผูขอรับสิทธิบัตรไดยื่นคําขอสําหรับการประดิษฐอยางหนึ่งอยางใดที่ไดแยกภายใน กําหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ใหถือวาไดยื่นคําขอนั้นในวันยื่นคําขอรับสิทธิบัตรในราชอาณาจักรครั้งแรก

             ในกรณีที่ผูขอรับสิทธิบัตรไมแยกคําขอ แตไดแกไขคําขอรับสิทธิบัตรใหเหลือแตการประดิษฐ อยางเดียวกันภายในกําหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ใหพนักงานเจาหนาที่ดําเนินการตรวจสอบคําขอรับสิทธิบัตร ตามพระราชบัญญัตินี้ตอไป

            การแยกคําขอใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดโดยกฎกระทรวง

            ในกรณีที่ผูขอรับสิทธิบัตรไมเห็นดวยกับคําสั่งของพนักงานเจาหนาที่ ผูขอรับสิทธิบัตรจะตอง ยื่นอุทธรณคําสั่งตออธิบดีภายในระยะเวลาหกสิบวันนับแตวันที่ผูขอรับสิทธิบัตรไดรับแจงคําสั่ง

           ถาผูขอรับสิทธิบัตรไมดําเนินการแยกคําขอภายในกําหนดเวลาตามวรรคหนึ่ง ไมแกไขคําขอ ตามวรรคสาม หรือไมอุทธรณคําสั่งของอธิบดีภายในกําหนดเวลาตามวรรคหา ใหถือวาละทิ้งคําขอรับ สิทธิบัตร”

            มาตรา 14 ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา 26/1 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522

             “มาตรา 26/1 ในกรณีที่ผูขอรับสิทธิบัตรมีความประสงคจะแยกการประดิษฐแตละอยางที่ ไดยื่นไวในคําขอรับสิทธิบัตรฉบับเดียวกัน ใหยื่นคําขอตอพนักงานเจาหนาที่เพื่อแยกการประดิษฐดังกลาวกอน การประกาศโฆษณาตามมาตรา ๓๒/๑

              ในกรณีที่พนักงานเจาหนาที่พิจารณาแลวเห็นวา การแยกคําขอนั้นไมเปนการแกไขเพิ่มเติม สาระสําคัญของการประดิษฐใหแตกตางไปจากที่ระบุไวในคําขอเดิม ใหพนักงานเจาหนาที่อนุญาต และแจงผู ขอรับสิทธิบัตรทราบถึงคําสั่งดังกลาว

             ถาผูขอรับสิทธิบัตรไดยื่นคําขอรับสิทธิบัตรสําหรับการประดิษฐอยางหนึ่งอยางใดที่ไดแยก ตามวรรคหนึ่งภายในเกาสิบวันนับแตวันไดรับแจงคําสั่ง ใหถือวาไดยื่นคําขอนั้นในวันยื่นคําขอรับสิทธิบัตรใน ราชอาณาจักรครั้งแรก

             การแยกคําขอใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดโดยกฎกระทรวง

             ในกรณีพนักงานเจาหนาที่ไมอนุญาตใหแยกการประดิษฐ ผูขอรับสิทธิบัตรจะตองยื่นอุทธรณ คําสั่งตออธิบดีภายในระยะเวลาหกสิบวันนับแตวันที่ผูขอรับสิทธิบัตรไดรับแจงคําสั่ง

              ถาผูขอรับสิทธิบัตรไมดําเนินการแยกคําขอภายในกําหนดเวลาตามวรรคสาม หรือไมอุทธรณ คําสั่งของพนักงานเจาหนาที่ภายในระยะเวลาตามวรรคหา ใหถือวาผูขอรับสิทธิบัตรละทิ้งคําขอแยกการ ประดิษฐ และใหพนักงานเจาหนาที่ดําเนินการตรวจสอบคําขอรับสิทธิบัตรตอไป ทั้งนี้ การขอแยกการประดิษฐ ตามมาตรานี้ใหกระทําไดเพียงครั้งเดียว”

              มาตรา 15 ใหยกเลิกความในมาตรา 27 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 และให ใชความตอไปนี้แทน

             “มาตรา 27 ในการตรวจสอบคําขอรับสิทธิบัตร พนักงานเจาหนาที่จะเรียกผูขอรับสิทธิบัตร มาใหถอยคําชี้แจง สงเอกสารหรือสิ่งใดเพิ่มเติม หรือแจงใหผูขอรับสิทธิบัตรแกไขเพิ่มเติมคําขอรับสิทธิบัตรก็ ได

             ในกรณีที่ผูขอรับสิทธิบัตรไดยื่นคําขอรับสิทธิบัตรไวแลวนอกราชอาณาจักร ใหผูขอรับ สิทธิบัตรสงผลการตรวจสอบการประดิษฐหรือรายละเอียดการประดิษฐที่ขอรับสิทธิบัตรนั้นตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนดโดยกฎกระทรวง

              ในกรณีที่จะตองสงเอกสารเปนภาษาตางประเทศ ใหผูขอรับสิทธิบัตรสงเอกสารพรอมดวยคํา แปลเปนภาษาไทย

             ถาผูขอรับสิทธิบัตรไมปฏิบัติตามคําสั่งของพนักงานเจาหนาที่ตามวรรคหนึ่ง หรือไมสง เอกสารตามวรรคสองภายในกําหนดเวลาเกาสิบวันนับแตวันไดรับแจงคําสั่ง ใหถือวาละทิ้งคําขอรับสิทธิบัตร

             กอนครบกําหนดเวลาตามวรรคสี่ ผูขอรับสิทธิบัตรอาจขอขยายกําหนดเวลาไดอีกเกาสิบวัน โดยชําระคาธรรมเนียมการขอขยายระยะเวลาเพิ่มเติม หากผูขอรับสิทธิบัตรไมดําเนินการใดภายในกําหนด ระยะเวลาที่ไดรับการขยายเพิ่มเติม ใหถือวาละทิ้งคําขอรับสิทธิบัตร”

               มาตรา 16 ใหยกเลิกความในมาตรา 28 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 และใหใชความตอไปนี้แทน

              “มาตรา 28 เมื่อพนักงานเจาหนาที่เสนอรายงานการตรวจสอบคําขอรับสิทธิบัตรเบื้องตนตอ อธิบดีแลว ใหอธิบดีมีคําสั่งใหประกาศโฆษณาคําขอรับสิทธิบัตรนั้น หากพิจารณาเห็นวา

             (๑) สิ่งที่ยื่นขอรับสิทธิบัตรนั้นเปนการประดิษฐตามมาตรา 3

             (๒) มีเอกสารและรายการครบถวนตามที่กําหนดไวในมาตรา 17

             (๓) มีรายละเอียดการประดิษฐและขอถือสิทธิที่ชัดเจนเพียงพอที่จะทําใหผูมีความชํานาญใน ระดับสามัญในศิลปะหรือวิทยาการที่เกี่ยวของสามารถทําและปฏิบัติตามการประดิษฐนั้น

            (๔) ระบุวิธีการในการประดิษฐที่ดีที่สุดที่ผูประดิษฐจะพึงทราบไดและ

            (5) เปดเผยแหลงที่มาของทรัพยากรพันธุกรรมและภูมิปญญาทองถิ่น พรอมทั้งยื่นเอกสารที่ เกี่ยวของกับการขออนุญาตกอนการเขาถึงและขอตกลงแบงปนผลประโยชน

               ในกรณีที่อธิบดีพิจารณาเห็นวาคําขอรับสิทธิบัตรไมเปนไปตาม (๑) (๒) (๓) (4) หรือ (5) ให อธิบดีสั่งยกคําขอรับสิทธิบัตรนั้น

                การประกาศโฆษณาคําขอรับสิทธิบัตร การแจงคําสั่งของอธิบดีตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดโดยกฎกระทรวง”

              มาตรา 17 ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา 28/1 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522

             “มาตรา ๒๘/๑ การประกาศโฆษณาคําขอรับสิทธิบัตรตามมาตรา ๒๘ ใหดําเนินการภายใน สิบแปดเดือนนับแตวันยื่นคําขอในราชอาณาจักรหรือวันยื่นคําขอครั้งแรกตามมาตรา 19 ทวิเวนแตในกรณีที่ มีเหตุจําเปน ทั้งนี้ ระยะเวลาดังกลาวไมนับรวมระยะเวลาที่ผูขอรับสิทธิบัตรอยูระหวางดําเนินการแกไขคํา ขอรับสิทธิบัตรตามคําสั่งของพนักงานเจาหนาที่”

           มาตรา 18 ใหยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา 29 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 และใหใชความตอไปนี้แทน

           “มาตรา 29 เมื่อไดประกาศโฆษณาตามมาตรา 28 แลว ผูขอรับสิทธิบัตรตองยื่นคําขอให พนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบการประดิษฐวาเปนการประดิษฐตามมาตรา 5 ภายในสามปนับแตวันยื่นคําขอรับ สิทธิบัตรในราชอาณาจักร ถาผูขอรับสิทธิบัตรไมยื่นคําขอภายในเวลาที่กําหนดไว ใหถือวาละทิ้งคําขอรับ สิทธิบัตร”

           มาตรา 19 ใหยกเลิกความในมาตรา 30 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522

           มาตรา 20 ใหยกเลิกความในมาตรา 31 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และใหใชความตอไปนี้แทน

           “มาตรา 31 เมื่อไดประกาศโฆษณาตามมาตรา 28 แลว บุคคลใดเห็นวาสิ่งที่ขอรับสิทธิบัตร ไมเปนการประดิษฐตามมาตรา 3 หรือคําขอรับสิทธิบัตรใดไมชอบดวยมาตรา 5 มาตรา 9 มาตรา 16 มาตรา 17 หรือมาตรา 18 อาจยื่นเอกสารหลักฐานตอพนักงานเจาหนาที่เพื่อใชประกอบการพิจารณา ตรวจสอบการประดิษฐกอนประกาศโฆษณาตามมาตรา 32/1 ก็ได ทั้งนี้ ตามระเบียบที่อธิบดีกําหนด”

            มาตรา 21 ใหยกเลิกความในมาตรา 32 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522

            มาตรา 22 ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา 32/1 มาตรา 32/2 มาตรา 32/3 และมาตรา 32/4 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522

             “มาตรา 32/๑ เมื่อผูขอรับสิทธิบัตรยื่นคําขอใหพนักงานเจาหนาที่ตรวจสอบการประดิษฐ ตามมาตรา 29 และพนักงานเจาหนาที่ไดทําการตรวจสอบแลว ใหพนักงานเจาหนาที่ทํารายงานการ ตรวจสอบเสนออธิบดี

             (๑) ถาอธิบดีพิจารณาเห็นวาสิ่งที่ขอรับสิทธิบัตรเปนการประดิษฐตามมาตรา 3 หรือคําขอรับ สิทธิบัตรชอบดวย มาตรา 5 มาตรา 9 มาตรา 10 มาตรา 11 มาตรา 14 มาตรา ๑๖ มาตรา 17 หรือ มาตรา 18 ใหอธิบดีมีคําสั่งใหประกาศโฆษณาวาจะรับจดทะเบียนการประดิษฐ พรอมทั้งคําขอรับสิทธิบัตรนั้น

            (๒) ถาอธิบดีพิจาณาเห็นวาสิ่งที่ขอรับสิทธิบัตรไมเปนไปตามขอใดขอหนึ่งของ (1) ใหอธิบดี สั่งยกคําขอรับสิทธิบัตรและใหพนักงานเจาหนาที่แจงคําสั่งไปยังผูขอรับสิทธิบัตร

             การประกาศโฆษณาคําสั่งวาจะรับจดทะเบียนการประดิษฐ และคําสั่งยกคําขอรับสิทธิบัตรให เปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดโดยกฎกระทรวง

           มาตรา 32/2 เมื่อไดประกาศโฆษณาตามมาตรา 32/1 แลว บุคคลใดเห็นวาตนมีสิทธิรับ สิทธิบัตรดีกวาผูขอรับสิทธิบัตร หรือเห็นวาสิ่งที่ขอรับสิทธิบัตรไมเปนการประดิษฐตามมาตรา 3 หรือคําขอรับ สิทธิบัตรไมชอบดวย มาตรา 5 มาตรา 9 มาตรา 10 มาตรา 11 มาตรา 14 มาตรา 16 มาตรา 17 หรือ มาตรา 18 จะยื่นคําคัดคานตอพนักงานเจาหนาที่ก็ได แตตองยื่นภายในเกาสิบวันนับแตวันประกาศโฆษณา ตามมาตรา 32/๑ (๑)

            เมื่อพนักงานเจาหนาที่ไดรับคําคัดคานตามวรรคหนึ่ง ใหสงสําเนาไปยังผูขอรับสิทธิบัตร ใหผู ขอรับสิทธิบัตรยื่นคําโตแยงภายในเกาสิบวันนับแตวันที่ไดรับสําเนาคําคัดคาน ถาผูขอรับสิทธิบัตรไมยื่นคํา โตแยงภายในกําหนดเวลาดังกลาว ใหถือวาละทิ้งคําขอรับสิทธิบัตร

            ในกรณีที่จะตองสงเอกสารเปนภาษาตางประเทศ ใหผูคัดคานหรือผูโตแยงสงเอกสารนั้น พรอมดวยคําแปลเปนภาษาไทยพรอมรับรองคําแปลดวย

             มาตรา 32/3 เพื่อใหการดําเนินกระบวนพิจารณาคําคัดคานเปนไปโดยสะดวก รวดเร็ว และ เที่ยงธรรม ใหอธิบดีมอบหมายพนักงานเจาหนาที่ไมนอยกวาสามคนแตไมเกินหาคนเปนผูพิจารณาคําคัดคาน และคําโตแยง และจัดทํารายงานผลการพิจารณาเสนอตออธิบดี

            วิธีพิจารณาและหลักเกณฑการยื่นคําคัดคานหรือคําโตแยง การนําพยานหลักฐานมาแสดง หรือแถลงเพิ่มเติมใหเปนไปตามระเบียบที่อธิบดีกําหนด

           มาตรา 32/4 เมื่อครบระยะเวลาตามมาตรา 32/2 แลวแตไมมีผูยื่นคําคัดคาน หรือมีผูยื่น คําคัดคานแตอธิบดีเห็นวาไมมีเหตุขัดของในการออกสิทธิบัตร หรืออธิบดีไดวินิจฉัยวาผูขอรับสิทธิบัตรเปนผูมี สิทธิ ใหอธิบดีสั่งใหรับจดทะเบียนการประดิษฐและออกสิทธิบัตรใหแกผูขอรับสิทธิบัตร และใหพนักงาน เจาหนาที่แจงใหผูขอรับสิทธิบัตรชําระคาธรรมเนียมการออกสิทธิบัตรภายในหกสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจง หากครบระยะเวลาดังกลาวแลวแตผูขอรับสิทธิบัตรยังไมชําระคาธรรมเนียม ใหถือวาละทิ้งคําขอรับสิทธิบัตร

            เมื่อผูขอรับสิทธิบัตรไดชําระคาธรรมเนียมตามวรรคหนึ่งแลว ใหจดทะเบียนการประดิษฐและ ออกสิทธิบัตรใหแกผูขอรับสิทธิบัตรภายในสิบหาวันนับแตวันที่ไดรับชําระคาธรรมเนียมแตตองไมกอนสิ้น ระยะเวลาอุทธรณตามมาตรา 72

           สิทธิบัตรใหเปนไปตามแบบพิมพที่กําหนดโดยกฎกระทรวง”

           มาตรา 23 ใหยกเลิกความในมาตรา 33 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522

           มาตรา 24 ใหยกเลิกความในมาตรา 34 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 และให ใชความตอไปนี้แทน

            “มาตรา 34 ในกรณีที่มีผูคัดคานตามมาตรา 32/2 และอธิบดีไดวินิจฉัยวามีเหตุขัดของใน การออกสิทธิบัตร หรือผูคัดคานเปนผูมีสิทธิรับสิทธิบัตร ใหอธิบดีสั่งยกคําขอรับสิทธิบัตร และใหพนักงาน เจาหนาที่แจงคําวินิจฉัยและคําสั่งของอธิบดีไปยังผูคัดคานและผูโตแยงพรอมดวยเหตุผล

             ในกรณีที่ผูขอรับสิทธิบัตรมิไดอุทธรณคําสั่งของอธิบดี หรือไดอุทธรณคําสั่งของอธิบดี และ คณะกรรมการหรือศาลไดมีคําสั่งหรือคําพิพากษาถึงที่สุดใหผูคัดคานเปนผูมีสิทธิขอรับสิทธิบัตรแลว ถาผู คัดคานไดยื่นคําขอรับสิทธิบัตรสําหรับการประดิษฐนั้นภายในเกาสิบวันนับแตวันมีคําสั่งของอธิบดี หรือนับแต วันที่คณะกรรมการหรือศาลมีคําสั่งหรือคําพิพากษาถึงที่สุดแลวแตกรณี ใหถือวาผูคัดคานไดยื่นคําขอนั้นในวัน เดียวกันกับวันที่ผูขอรับสิทธิบัตรยื่นคําขอรับสิทธิบัตร และใหถือวากระบวนการตรวจสอบคําขอรับสิทธิบัตร ของผูถูกคัดคานตามพระราชบัญญัตินี้เปนกระบวนการตรวจสอบคําขอรับสิทธิบัตรของผูคัดคานดวย

            หากผูคัดคานไมยื่นคําขอรับสิทธิบัตรภายในกําหนดเวลาตามวรรคสอง ใหถือวาผูคัดคานไม ประสงคจะขอรับสิทธิบัตรสําหรับการประดิษฐนั้น และใหพนักงานเจาหนาที่จําหนายคําขอตอไป”

            มาตรา 25 ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา 34/1 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522

             “มาตรา 34/1 ผูขอรับสิทธิบัตรอาจขอถอนคําขอรับสิทธิบัตรในเวลาใดก็ไดกอนอธิบดีสั่งรับ จดทะเบียนการประดิษฐและออกสิทธิบัตร ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่อธิบดีประกาศกําหนด การขอถอนคําขอรับสิทธิบัตรใหถือวามีผลนับแตพนักงานเจาหนาที่ไดรับคําขอถอนคําขอรับ สิทธิบัตรนั้น”

            มาตรา 26 ใหยกเลิกความในมาตรา 41 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 และให ใชความตอไปนี้แทน

           “มาตรา ๔๑ การโอนสิทธิบัตรตามมาตรา ๓๘ ตองทําเปนหนังสือ และจดทะเบียนตอ พนักงานเจาหนาที่ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดโดยกฎกระทรวง”

             มาตรา 27 ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา 41/1 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522

             “มาตรา ๔๑/1 การอนุญาตใหใชสิทธิตามสิทธิบัตรตามมาตรา ๓๘ ตองทําเปนหนังสือ และ จดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่จึงจะบริบูรณ ทั้งนี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนด โดยกฎกระทรวง

             สัญญาอนุญาตใหใชสิทธิตามสิทธิบัตร หากยังไมจดทะเบียน หามมิใหยกเปนขอตอสู บุคคลภายนอกผูไดรับโอนหรือไดรับอนุญาตใหใชสิทธิตามสิทธิบัตรโดยเสียคาตอบแทน และไดจดทะเบียนโดย สุจริตแลว”

              มาตรา 28 ใหยกเลิกความในวรรคสาม วรรคสี่ และวรรคหาของมาตรา 43 แหง พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 และใหใชความตอไปนี้แทน

            “ถาผูทรงสิทธิบัตรไมชําระคาธรรมเนียมรายปภายในกําหนดเวลาตามวรรคหนึ่งหรือวรรค สอง ตองเสียคาธรรมเนียมเพิ่มรอยละสามสิบของเงินคาธรรมเนียมรายป โดยตองชําระคาธรรมเนียมรายป พรอมทั้งคาธรรมเนียมเพิ่มภายในหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันสิ้นกําหนดเวลาชําระคาธรรมเนียมรายปตาม วรรคหนึ่งหรือวรรคสอง

             เมื่อครบกําหนดเวลาตามวรรคสามแลวถาผูทรงสิทธิบัตรยังไมชําระคาธรรมเนียมรายปและ คาธรรมเนียมเพิ่ม ใหอธิบดีสั่งเพิกถอนสิทธิบัตรนั้น

            ในกรณีที่สิทธิบัตรถูกเพิกถอนตามวรรคสี่ผูทรงสิทธิบัตรอาจรองขอตอคณะกรรมการภายใน กําหนดหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันทราบคําสั่งเพิกถอนสิทธิบัตรวามีเหตุจําเปนไมอาจชําระคาธรรมเนียมราย ปและคาธรรมเนียมเพิ่มภายในกําหนดเวลาตามวรรคสามได คณะกรรมการอาจมีคําสั่งอนุญาตใหชําระ คาธรรมเนียมรายปพรอมทั้งคาธรรมเนียมเพิ่มรอยละหาสิบของเงินคาธรรมเนียมรายปนั้นภายในกําหนดเวลา ตามที่เห็นสมควรก็ได”

            มาตรา 29 ใหยกเลิกความในมาตรา 48 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542

           มาตรา 30 ใหยกเลิกความในมาตรา 49 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2542 และใหใชความตอไปนี้แทน

             “มาตรา ๔๙ ในการยื่นคําขอใชสิทธิตามมาตรา ๔๖ มาตรา ๔๗ หรือมาตรา ๔๗ ทวิ ผูขอใช สิทธิตองเสนอคาตอบแทน เงื่อนไขในการใชสิทธิตามสิทธิบัตร และขอจํากัดสิทธิของผูทรงสิทธิบัตรและผูไดรับ อนุญาตใหใชสิทธิของผูทรงสิทธิบัตรตามมาตรา ๕๐/1 วรรคสอง พรอมกับคําขอใชสิทธิ สําหรับกรณีการขอใช สิทธิตามมาตรา ๔๗ ผูขอใชสิทธิตองยินยอมอนุญาตใหผูทรงสิทธิบัตรที่ตนขอใชสิทธิเปนผูมีสิทธิใชสิทธิตาม สิทธิบัตรของตนเปนการตอบแทนดวย

            เมื่อไดรับคําขอใชสิทธิตามมาตรา ๔๖ มาตรา ๔๗ หรือมาตรา ๔๗ ทวิ แลว ใหอธิบดี มอบหมายพนักงานเจาหนาที่ไมนอยกวาสามคนแตไมเกินหาคนเปนผูพิจารณาการขอใชสิทธิ โดยใหแจง กําหนดวันสอบสวนคําขอไปยังผูขอใชสิทธิ ผูทรงสิทธิบัตรและผูไดรับอนุญาตใหใชสิทธิของผูทรงสิทธิบัตรตาม มาตรา ๕๐/๑ วรรคสอง ในการนี้ ใหสงสําเนาคําขอไปยังผูทรงสิทธิบัตรและผูไดรับอนุญาตใหใชสิทธิของผูทรง สิทธิบัตรตามมาตรา ๕๐/1 วรรคสองดวย

             ในการสอบสวนตามวรรคสอง พนักงานเจาหนาที่จะเรียกผูขอใชสิทธิ ผูทรงสิทธิบัตร ผูไดรับ อนุญาตใหใชสิทธิของผูทรงสิทธิบัตรตามมาตรา ๕๐/1 วรรคสอง หรือบุคคลอื่นใด มาใหถอยคําชี้แจง ใหสง เอกสาร หรือสิ่งใดเพิ่มเติมก็ได และใหจัดทํารายงานเสนออธิบดีโดยเร็ววามีเหตุอันสมควรที่จะอนุญาตใหใช สิทธิหรือไม”

             มาตรา 31 ใหยกเลิกความในมาตรา 50 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2542 และใหใชความตอไปนี้แทน

             “มาตรา ๕๐ เมื่ออธิบดีไดรับรายงานจากพนักงานเจาหนาที่ตามมาตรา 49 แลว หากอธิบดี เห็นวาไมสมควรอนุญาตใหใชสิทธิของผูทรงสิทธิบัตร ใหอธิบดีสั่งยกคําขอใชสิทธินั้น

             ในกรณีที่อธิบดีเห็นสมควรอนุญาตใหใชสิทธิของผูทรงสิทธิบัตร ใหอธิบดีมีคําสั่งใหออก ใบอนุญาตใหแกผูไดรับอนุญาตใหใชสิทธิตามสิทธิบัตรนั้น พรอมทั้งกําหนดเงื่อนไขในการใชสิทธิตามสิทธิบัตร และขอจํากัดสิทธิ

             เงื่อนไขในการใชสิทธิตามสิทธิบัตรและขอจํากัดสิทธิที่อธิบดีกําหนด ตองเปนไปตาม หลักเกณฑดังตอไปนี้

              (๑) ขอบเขตและระยะเวลาที่อนุญาตตองไมเกินกวาพฤติการณอันจําเปนตามวัตถุประสงคที่ ขออนุญาต

              (๒) ผูทรงสิทธิบัตรมีสิทธิที่จะอนุญาตใหผูรับอนุญาตรายอื่นใชสิทธิตามสิทธิบัตรของตนดวยก็ ได

              (๓) ผูรับอนุญาตไมมีสิทธิโอนใบอนุญาตใหแกบุคคลอื่น เวนแตจะโอนกิจการหรือชื่อเสียง ในทางการคา โดยเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับการอนุญาตใหใชสิทธินั้นดวย

             (๔) การอนุญาตจะตองมุงสนองความตองการของประชาชนภายในราชอาณาจักรเปนสําคัญ

              เมื่ออธิบดีไดมีคําสั่งตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสองแลว ใหพนักงานเจาหนาที่แจงใหผูขอใชสิทธิ ผูทรงสิทธิบัตร และผูไดรับอนุญาตใหใชสิทธิของผูทรงสิทธิบัตรตามมาตรา ๕๐/1 วรรคสองทราบภายในสิบ หาวันนับแตวันที่อธิบดีมีคําสั่ง

              คําสั่งของอธิบดีตามวรรคหนึ่งหรือวรรคสอง คูกรณีอาจอุทธรณตอคณะกรรมการไดภายใน หกสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงคําวินิจฉัยนั้น

             การออกใบอนุญาตใหใชสิทธิตามสิทธิบัตรตามวรรคสอง ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการ ที่กําหนดโดยกฎกระทรวง”

             มาตรา 32 ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา 50/1 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522

            “มาตรา 50/1 ผูทรงสิทธิบัตรมีสิทธิไดรับคาตอบแทนในการขอใชสิทธิตามมาตรา ๔๖ มาตรา ๔๗ และมาตรา ๔๗ ทวิ

             สําหรับผูไดรับอนุญาตแตเพียงผูเดียวใหใชสิทธิของผูทรงสิทธิบัตรตามมาตรา ๓๘ มีสิทธิ ไดรับคาตอบแทนในการขอใชสิทธิตามมาตรา ๔๖ มาตรา ๔๗ หรือมาตรา ๔๗ ทวิ ได ในกรณีนี้ผูทรงสิทธิบัตร ไมมีสิทธิไดรับคาตอบแทน

             เมื่ออธิบดีไดมีคําสั่งใหออกใบอนุญาตพรอมกําหนดเงื่อนไขและขอจํากัดสิทธิตามมาตรา 50 แลว ใหผูทรงสิทธิบัตรและผูไดรับอนุญาตตกลงคาตอบแทนใหไดภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันนับจากไดรับแจงคํา วินิจฉัยของอธิบดี ในกรณีที่ทั้งสองฝายตกลงกันได ใหอธิบดีกําหนดคาตอบแทนใหตามที่ตกลงกัน และในกรณี ที่ทั้งสองฝายตกลงกันไมไดภายในระยะเวลาที่กําหนด ใหอธิบดีกําหนดคาตอบแทนที่เพียงพอตอพฤติการณ แหงกรณีโดยพิจารณาจากมูลคาทางเศรษฐกิจของการอนุญาตนั้น

             คําวินิจฉัยของอธิบดีตามวรรคสามใหเปนที่สุด คูกรณีฝายใดไมเห็นดวยอาจอุทธรณตอ คณะกรรมการไดภายในหกสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงคําวินิจฉัยนั้น”

              มาตรา 33 ใหยกเลิกความในมาตรา 50 ทวิ แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2542 และใหใชความตอไปนี้แทน

             “มาตรา ๕๐ ทวิ ใบอนุญาตใหใชสิทธิตามมาตรา ๕๐ อธิบดีอาจยกเลิกไดหากปรากฏวาเหตุ แหงการอนุญาตไดหมดสิ้นไปและไมนาจะเกิดขึ้นไดอีก และการยกเลิกดังกลาวจะไมกระทบกระเทือนสิทธิหรือ ผลประโยชนที่ผูไดรับอนุญาตใหใชสิทธิไดรับตามใบอนุญาตใหใชสิทธินั้น

              ในกรณีที่อธิบดีเห็นสมควรยกเลิกใบอนุญาตใหใชสิทธิ ใหอธิบดีมีคําสั่งใหยกเลิกใบอนุญาต และแจงใหผูขอใชสิทธิ ผูทรงสิทธิบัตร และผูไดรับอนุญาตใหใชสิทธิของผูทรงสิทธิบัตรตามมาตรา 50/1 วรรคสองทราบ ภายในสิบหาวันนับแตวันที่อธิบดีมีคําสั่ง

              คําสั่งอธิบดีตามวรรคสอง คูกรณีอาจอุทธรณตอคณะกรรมการไดภายในหกสิบวันนับแตวันที่ ไดรับแจงคําวินิจฉัยนั้น

              การขอใหยกเลิกใบอนุญาตตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดโดย กฎกระทรวง และใหนําบทบัญญัติมาตรา ๔๙ มาใชบังคับโดยอนุโลม”

              มาตรา 34 ใหยกเลิกความในมาตรา 51 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 และใหใชความตอไปนี้แทน

              “มาตรา ๕๑ เพื่อประโยชนในการประกอบกิจการอันเปนสาธารณูปโภค หรือการอันจําเปน ในการปองกันประเทศ หรือการสงวนรักษาหรือการไดมาซึ่งทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดลอม หรือปองกัน หรือบรรเทาการขาดแคลนอาหาร ยาหรือสิ่งอุปโภคบริโภคอยางอื่นอยางรุนแรง หรือเปนกรณีที่คณะกรรมการ การแขงขันทางการคามีคําสั่งวาผูทรงสิทธิบัตรฝาฝนบทบัญญัติใดของกฎหมายแขงขันทางการคาอันเปนผลให เกิดอุปสรรคตอการเขาถึงบริการดานสาธารณสุข หรือเพื่อประโยชนสาธารณะอยางอื่น กระทรวงอาจใชสิทธิ ตามสิทธิบัตรอยางใดอยางหนึ่งตามมาตรา ๓๖ โดยกระทําการดังกลาวเองหรือใหบุคคลอื่นกระทําแทน

             ในการใชสิทธิดังกลาว จะตองเสียคาตอบแทนแกผูทรงสิทธิบัตร หรือผูไดรับอนุญาตใหใช สิทธิของผูทรงสิทธิบัตรตามมาตรา 50/1 วรรคสอง โดยใหกระทรวงตามวรรคหนึ่งกําหนดคาตอบแทน เงื่อนไขในการใชสิทธิตามสิทธิบัตร และขอจํากัดสิทธิตามหลักเกณฑดังตอไปนี้

           (๑) ขอบเขตและระยะเวลาที่อนุญาตตองไมเกินกวาพฤติการณอันจําเปนตามวัตถุประสงคที่ แหงการใชสิทธินั้น

           (๒) ผูทรงสิทธิบัตรมีสิทธิที่จะอนุญาตใหผูรับอนุญาตรายอื่นใชสิทธิตามสิทธิบัตรของตนดวยก็ ได

           (๓) กระทรวงหรือบุคคลอื่นที่กระทําการแทนกระทรวงไมมีสิทธิโอนใบอนุญาตใหแกบุคคล อื่น เวนแตจะโอนกิจการหรือชื่อเสียงในทางการคา โดยเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับการอนุญาตใหใชสิทธินั้นดวย

            (๔) การอนุญาตจะตองมุงสนองความตองการของประชาชนภายในราชอาณาจักรเปนสําคัญ

           (๕) คาตอบแทนที่กําหนดจะตองเพียงพอตอพฤติการณแหงกรณีโดยพิจารณาจากมูลคาทาง เศรษฐกิจของการอนุญาตนั้น เวนแตเปนการใชสิทธิเพื่อนําเขาเภสัชภัณฑซึ่งไมมี หรือมีศักยภาพในภาคการ ผลิตเภสัชภัณฑนั้นในราชอาณาจักรไมเพียงพอ และผูทรงสิทธิบัตรไดรับคาตอบแทนสําหรับเภสัชภัณฑนั้นใน ประเทศผูสงออกแลว

            การใชสิทธิดังกลาวใหมีผลบังคับใชตั้งแตกระทรวงออกประกาศเพื่อบังคับใชสิทธิพรอม กําหนดคาตอบแทน เงื่อนไข ขอจํากัดสิทธิ

            ผูทรงสิทธิบัตรมีสิทธิอุทธรณคําสั่งของกระทรวง จํานวนคาตอบแทน เงื่อนไข หรือขอจํากัด สิทธิ ตอศาลภายในหกสิบวันนับแตวันที่กระทรวงออกประกาศ

           ผูทรงสิทธิบัตรอาจรองขอตอศาลเพื่อยกเลิกคําสั่งของกระทรวงตามมาตรานี้ได หากปรากฏ วาเหตุแหงการอนุญาตไดหมดสิ้นไปและไมนาจะเกิดขึ้นได”

            มาตรา 35 ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา 51/1 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522

            “มาตรา ๕๑/๑ ในกรณีที่เกิดความขาดแคลนเภสัชภัณฑในประเทศพัฒนานอยที่สุด หรือ ประเทศสมาชิกองคการการคาโลกซึ่งไมมี หรือมีศักยภาพในการผลิตเภสัชภัณฑไมเพียงพอ และประเทศนั้นได แจงความตองการที่จะนําเขาเภสัชภัณฑตอองคการการคาโลกแลว กระทรวงอาจใชสิทธิตามสิทธิบัตรอยางใด อยางหนึ่งตามมาตรา ๓๖ เพื่อผลิตและสงออกเภสัชภัณฑไปยังประเทศผูนําเขาที่ไดแจงความประสงคไวโดย กระทําการดังกลาวเองหรือใหบุคคลอื่นกระทําแทน ทั้งนี้ หากเปนกรณีที่เกิดภาวะฉุกเฉินในประเทศผูนําเขา หรือสภาพการณเรงดวนอยางที่สุดอื่นๆ หรือเปนการใชเพื่อสาธารณประโยชนที่ไมใชเชิงพาณิชย กระทรวงไม จําตองขออนุญาตใชสิทธิตามสิทธิบัตรจากผูทรงสิทธิบัตรกอน

             ในการใชสิทธิดังกลาว จะตองเสียคาตอบแทนแกผูทรงสิทธิบัตร หรือผูไดรับอนุญาตใหใช สิทธิของผูทรงสิทธิบัตรตามมาตรา 50/1 วรรคสอง โดยใหกระทรวงตามวรรคหนึ่งกําหนดคาตอบแทน เงื่อนไขในการใชสิทธิตามสิทธิบัตร และขอจํากัดสิทธิตามหลักเกณฑดังตอไปนี้

             (๑) ขอบเขตและระยะเวลาที่อนุญาตตองไมเกินกวาพฤติการณอันจําเปนเผื่อผลิตและสงออก เภสัชภัณฑตามปริมาณที่ประเทศผูนําเขาไดแจงไวตอองคการการคาโลก

             (๒) ผูทรงสิทธิบัตรมีสิทธิที่จะอนุญาตใหผูรับอนุญาตรายอื่นใชสิทธิตามสิทธิบัตรของตนดวยก็ ได

            (๓) กระทรวงหรือบุคคลอื่นที่กระทําการแทนกระทรวงไมมีสิทธิโอนใบอนุญาตใหแกบุคคล อื่น เวนแตจะโอนกิจการหรือชื่อเสียงในทางการคา โดยเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับการอนุญาตใหใชสิทธินั้นดวย

            (๔) คาตอบแทนที่กําหนดจะตองเพียงพอตอพฤติการณแหงกรณีโดยพิจารณาจากมูลคาทาง เศรษฐกิจในประเทศผูนําเขา

             การดําเนินการตามมาตรานี้ ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง และใหนํามาตรา ๕๑ วรรคสามถึงหามาใชบังคับโดยอนุโลม”

             มาตรา 36 ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา 53/1 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522

             “มาตรา 53/1 สิทธิบัตรที่ออกโดยมีขอผิดพลาดเล็กนอยหรือผิดหลงเล็กนอยนั้น ผูทรง สิทธิบัตรอาจขอแกไขเพิ่มเติมตออธิบดีโดยชําระคาธรรมเนียมการขอแกไขสิทธิบัตร ทั้งนี้ การแกไขดังกลาว ตองไมเปนการเปลี่ยนแปลงสาระสําคัญหรือขอบเขตของการประดิษฐที่ไดรับความคุมครองตามสิทธิบัตร

              ในการแกไขเพิ่มเติมสิทธิบัตรตามวรรคหนึ่ง ตองไดรับความยินยอมจากผูทรงสิทธิบัตรรวม ทุกคน หรือถามีการอนุญาตใหบุคคลใดใชสิทธิตามสิทธิบัตรตามมาตรา 41/1 มาตรา 45 มาตรา 46 หรือ มาตรา 47 ทวิ ตองไดรับความยินยอมจากบุคคลนั้นดวย”

               มาตรา 37 ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนหมวด 2/1 คําขอระหวางประเทศภายใตสนธิสัญญา ความรวมมือดานสิทธิบัตร และมาตรา 55/1 มาตรา 55/2 มาตรา 55/3 มาตรา 55/4 มาตรา 55/5 มาตรา 55/6 มาตรา 55/7 มาตรา 55/8 มาตรา 55/9 มาตรา 55/10 และมาตรา 55/11 แหง พระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522

“หมวด 2/1

คําขอระหวางประเทศภาย

ใตสนธิสัญญาความรวมมือดานสิทธิบัตร

              มาตรา 55/1 ในหมวดนี้

              “สนธิสัญญา” หมายความวา สนธิสัญญาความรวมมือดานสิทธิบัตร ทําขึ้น ณ กรุงวอชิงตัน เมื่อวันที่ ๑๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๓ และที่แกไขเพิ่มเติม

              “คําขอระหวางประเทศ” หมายความวา คําขอรับความคุมครองการประดิษฐที่ยื่นตาม สนธิสัญญา

              “วันยื่นคําขอครั้งแรก” หมายความวา (๑) วันยื่นคําขอระหวางประเทศ หรือ (๒) วันยื่นคําขอรับความคุมครองการประดิษฐครั้งแรกกอนการยื่นคําขอระหวางประเทศ ใน กรณีที่มีการขอถือสิทธิตามมาตรา 55/4

              “สํานักระหวางประเทศ” หมายความวา สํานักระหวางประเทศขององคการทรัพยสินทาง ปญญาโลก

               “องคกรตรวจคนระหวางประเทศ” หมายความวา สํานักงานสิทธิบัตรของประเทศสมาชิก หรือองคการระหวางประเทศที่อธิบดีประกาศกําหนดใหมีอํานาจดําเนินการตรวจคนและรายงานความเห็น เกี่ยวกับงานที่ปรากฏอยูแลวที่เกี่ยวของกับการประดิษฐตามคําขอระหวางประเทศ

             “องคกรตรวจสอบเบื้องตนระหวางประเทศ” หมายความวา สํานักงานสิทธิบัตรของประเทศ สมาชิก หรือองคการระหวางประเทศที่อธิบดีประกาศกําหนดใหมีอํานาจดําเนินการพิจารณาและจัดทํา ความเห็นเบื้องตนวาการประดิษฐที่ปรากฏตามขอถือสิทธิของคําขอระหวางประเทศเปนการประดิษฐขึ้นใหม มีขั้นการประดิษฐสูงขึ้น และสามารถประยุกตในทางอุตสาหกรรม

สวนที่ ๑

การยื่นคําขอระหวางประเทศเพื่อขอรับความคุมครอง

การประดิษฐในประเทศภาคีแหงสนธิสัญญา

             มาตรา 55/2 ผูมีสิทธิยื่นคําขอระหวางประเทศตอกรมทรัพยสินทางปญญา ตองมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้

            (๑) มีสัญชาติไทยหรือเปนนิติบุคคลที่มีสํานักงานแหงใหญตั้งอยูในประเทศไทย หรือ

            (๒) มีภูมิลําเนาในประเทศไทย หรือ

            (๓) อยูในระหวางการประกอบอุตสาหกรรมหรือพาณิชยกรรมอยางแทจริงและจริงจังใน ประเทศไทย

            ในกรณีที่เปนคําขอระหวางประเทศของผูขอหลายคน ผูขออยางนอยหนึ่งคนตองมีคุณสมบัติ ตามที่กําหนดในวรรคหนึ่ง

            ในกรณีที่บุคคลผูมีสัญชาติหรือมีภูมิลําเนาในประเทศภาคีอื่นแหงสนธิสัญญายื่นคําขอ ระหวางประเทศตอกรมทรัพยสินทางปญญา ใหผูยื่นคําขอระหวางประเทศชําระคาดําเนินการในอัตราเทากับ คาดําเนินการเพื่อจัดสงคําขอระหวางประเทศ และใหพนักงานเจาหนาที่สงคําขอระหวางประเทศนั้นไปยัง สํานักระหวางประเทศเพื่อดําเนินการตอไป

             มาตรา 55/3 คําขอระหวางประเทศ ใหมีรายการดังตอไปนี้

            (๑) คํารอง

            (๒) รายละเอียดการประดิษฐ

            (๓) ขอถือสิทธิ

            (๔) รูปเขียน (ถามี) และ

            (๕) บทสรุปการประดิษฐ

           รายการตามวรรคหนึ่ง ใหเปนไปตามแบบคําขอระหวางประเทศตามที่อธิบดีประกาศกําหนด ตามสนธิสัญญา

            มาตรา 55/4 ในการยื่นคําขอระหวางประเทศผูขออาจระบุวันยื่นคําขอครั้งแรกซึ่งไดยื่นไว ภายในสิบสองเดือนกอนการยื่นคําขอระหวางประเทศ เพื่อประโยชนในการพิจารณางานที่ปรากฏอยูแลวก็ได

             ในกรณีที่ผูขอไมอาจยื่นคําขอระหวางประเทศภายใน 12 เดือนนับแตวันยื่นคําขอครั้งแรก ตามวรรคหนึ่ง ผูขออาจยื่นคํารองเพื่อขอฟนสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรก พรอมชําระคาธรรมเนียมตอพนักงาน เจาหนาที่ภายในสิบสี่เดือนนับแตวันยื่นคําขอครั้งแรก โดยระบุเหตุผลและหลักฐานที่แสดงวาตน [ไมมีเจตนา หรือ] ไดใชความระมัดระวังตามสมควรแกกรณีแลว

             หากพนักงานเจาหนาที่เห็นวาผูขอ[ไมมีเจตนา หรือ] ไดใชความระมัดระวังตามสมควรแก กรณีแลวแตไมสามารถดําเนินการไดภายในระยะเวลาที่กําหนด ใหแจงการอนุญาตฟนสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรก ตอผูขอและสํานักระหวางประเทศกอนดําเนินการกับคําขอระหวางประเทศตอไป

             หากพนักงานเจาหนาที่จะไมอนุญาตใหฟนสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรก ใหพนักงานเจาหนาที่ แจงเหตุแหงการไมอนุญาตและใหโอกาสผูขอชี้แจงภายในหนึ่งเดือนนับแตวันที่ไดรับแจงหรือไดรับหนังสือแจง เมื่อพนักงานเจาหนาที่ไดรับขอชี้แจงแลว ใหจัดทํารายงานเสนอตออธิบดี เมื่ออธิบดีไดวินิจฉัยแลว ใหคํา วินิจฉัยของอธิบดีเปนที่สุด

             การขอถือสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรก และการขอฟนสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรก ใหเปนไปตาม หลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง

              มาตรา 55/5 คําขอระหวางประเทศที่ยื่นตอกรมทรัพยสินทางปญญา ใหจัดทําเปน ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ พรอมทั้งชําระคายื่นคําขอระหวางประเทศ คาตรวจคนระหวางประเทศ และคา ดําเนินการเพื่อจัดสงคําขอระหวางประเทศ

             การยื่นคําขอระหวางประเทศ การระบุวันยื่นคําขอระหวางประเทศ หนาที่ของกรมทรัพยสิน ทางปญญา รวมทั้งการดําเนินการอื่นใดภายใตสนธิสัญญาที่เกี่ยวกับการรับคําขอระหวางประเทศ เพื่อขอรับ ความคุมครองการประดิษฐในประเทศภาคีแหงสนธิสัญญา ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง

สวนที่ ๒

การดําเนินการกับคําขอระหวางประเทศ

ที่ขอรับความคุมครองการประดิษฐในประเทศไทย

             มาตรา 55/6 ผูขอซึ่งไดยื่นคําขอระหวางประเทศในประเทศภาคีแหงสนธิสัญญาไวแลว หากประสงคจะขอรับความคุมครองการประดิษฐในราชอาณาจักร ใหแจงความประสงคมายังกรมทรัพยสิน ทางปญญาตามแบบที่อธิบดีประกาศกําหนด พรอมทั้งสงคําแปลภาษาไทยของรายละเอียดการประดิษฐ ขอถือ สิทธิ รูปเขียน (ถามี) และบทสรุปการประดิษฐ พรอมทั้งชําระคาธรรมเนียมคําขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ตามอัตราที่กําหนดในพระราชบัญญัตินี้ ภายในระยะเวลาสามสิบเดือนนับแตวันยื่นคําขอครั้งแรก

            ในกรณีที่ผูขอไดแจงความประสงคและชําระคาธรรมเนียมตามวรรคหนึ่งแลว แตยังไมอาจสง คําแปลเปนภาษาไทยได ผูขออาจขอผอนผันการยื่นคําแปลไดอีกสามสิบวันนับจากวันแจงความประสงคตาม วรรคหนึ่งโดยชําระคาธรรมเนียมลาชา

             เมื่อไดแจงความประสงคตามวรรคหนึ่งภายในกําหนดระยะเวลาแลว ใหถือวาคําขอระหวาง ประเทศเปนคําขอรับสิทธิบัตรที่ไดยื่นในราชอาณาจักรตั้งแตวันยื่นคําขอระหวางประเทศ และใหพนักงาน เจาหนาที่ดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ตอไป

             ในกรณีที่ผูขอมิไดดําเนินการภายในระยะเวลาที่กําหนดตามวรรคหนึ่ง หรือไมยื่นคําแปล ภายในกําหนดเวลาตามวรรคสอง ใหถือวาคําขอระหวางประเทศนั้นสิ้นผลในประเทศไทย

              มาตรา 55/7 ในกรณีที่ผูขอไมอาจแจงความประสงคจะขอรับความคุมครองการประดิษฐใน ราชอาณาจักรภายในระยะเวลาตามมาตรา 55/6 ผูขออาจยื่นคํารองเพื่อขอฟนสิทธิคําขอระหวางประเทศให มีผลในประเทศไทยพรอมชําระคาธรรมเนียมตอพนักงานเจาหนาที่โดยระบุเหตุผลและหลักฐานวาตน[ไมมี เจตนา หรือ] ไดใชความระมัดระวังตามสมควรแกกรณีแลว

              การยื่นคํารองตามวรรคหนึ่ง ใหยื่นภายในระยะเวลาสองเดือนนับแตวันที่เหตุที่ทําใหไม สามารถดําเนินการภายในระยะเวลาที่กําหนดไดสิ้นสุดลง หรือภายในระยะเวลาสิบสองเดือนนับแตวันครบ กําหนดระยะเวลาตามมาตรา 55/6 แลวแตระยะเวลาใดจะสิ้นสุดลงกอน

               หากพนักงานเจาหนาที่เห็นวาผูขอ[ไมมีเจตนา หรือ] ไดใชความระมัดระวังตามสมควรแก กรณีแลวแตไมสามารถดําเนินการไดภายในระยะเวลาที่กําหนด ใหแจงการอนุญาตฟนสิทธิคําขอระหวาง ประเทศในประเทศไทยตอผูขอ และดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ตอไป

              ในกรณีที่พนักงานเจาหนาที่จะไมอนุญาตใหฟนสิทธิคําขอระหวางประเทศในประเทศไทย ให พนักงานเจาหนาที่แจงเหตุแหงการไมอนุญาตและใหโอกาสผูขอชี้แจงภายในหนึ่งเดือนนับแตวันที่ไดรับแจง หรือไดรับหนังสือแจง เมื่อพนักงานเจาหนาที่ไดรับขอชี้แจงแลว ใหจัดทํารายงานเสนอตออธิบดี เมื่ออธิบดีได วินิจฉัยแลว ใหคําวินิจฉัยของอธิบดีเปนที่สุด

            การขอฟนสิทธิคําขอระหวางประเทศในประเทศไทย ใหเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่ กําหนดในกฎกระทรวง

            มาตรา 55/8 หากคําขอระหวางประเทศที่แจงความประสงคจะขอรับความคุมครองใน ราชอาณาจักรตามมาตรา 55/6 มีการระบุวันยื่นคําขอครั้งแรกกอนหนาวันยื่นคําขอระหวางประเทศ ใหถือ เปนการขอใชสิทธิตามมาตรา 19 ทวิ(2) เพื่อประโยชนในการพิจารณางานที่ปรากฏอยูแลวในราชอาณาจักร

            ในกรณีวันยื่นคําขอครั้งแรกที่ระบุในคําขอระหวางประเทศเปนวันกอนหนาวันยื่นคําขอ ระหวางประเทศเกินกวาสิบสองเดือน เนื่องจากไดรับอนุญาตใหฟนสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรกโดยสํานักงาน รับคําขอในประเทศภาคีแหงสนธิสัญญาเนื่องจากผูขอ[ไมมีเจตนา หรือ] ไดใชความระมัดระวังตามสมควรแก กรณีแลว ผูขออาจยื่นคํารองเพื่อขอฟนสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรก พรอมชําระคาธรรมเนียมตอพนักงาน เจาหนาที่ภายในหนึ่งเดือนนับแตวันครบกําหนดตามมาตรา 55/6 โดยระบุเหตุผลและหลักฐานที่แสดงวาตน [ไมมีเจตนา หรือ] ไดใชความระมัดระวังตามสมควรแกกรณีแลว

            หากพนักงานเจาหนาที่เห็นวาผูขอ[ไมมีเจตนา หรือ] ไดใชความระมัดระวังตามสมควรแก กรณีแลว แตไมสามารถดําเนินการไดภายในระยะเวลาที่กําหนด ใหแจงการอนุญาตฟนสิทธิวันยื่นคําขอครั้ง แรกตอผูขอและดําเนินการตามพระราชบัญญัตินี้ตอไป

              ในกรณีที่พนักงานเจาหนาที่จะไมอนุญาตใหฟนสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรก ใหพนักงาน เจาหนาที่แจงเหตุแหงการไมอนุญาตและใหโอกาสผูขอชี้แจงภายในหนึ่งเดือนนับแตวันที่ไดรับแจงหรือไดรับ หนังสือแจง เมื่อพนักงานเจาหนาที่ไดรับขอชี้แจงแลว ใหจัดทํารายงานเสนอตออธิบดี เมื่ออธิบดีไดวินิจฉัยแลว ใหคําวินิจฉัยของอธิบดีเปนที่สุด

               การขอถือสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรก และการขอฟนสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรก ใหเปนไปตาม หลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง

                มาตรา 55/9 ผูขอซึ่งไดยื่นคําขอระหวางประเทศไวแลวในประเทศภาคีแหงสนธิสัญญาและ ประสงคที่จะขอรับความคุมครองการประดิษฐในประเทศไทย อาจยื่นคํารองขอใหกรมทรัพยสินทางปญญา ทบทวนผลการพิจารณาคําขอระหวางประเทศในกรณีดังตอไปนี้

                  (๑) กรณีที่สํานักงานรับคําขอในประเทศภาคีแหงสนธิสัญญาปฏิเสธที่จะระบุวันยื่นคําขอ ระหวางประเทศ หรือ

                  (๒) กรณีที่ถือวามีการถอนคําขอระหวางประเทศ การยื่นคํารองตามวรรคหนึ่ง ใหผูขอยื่นคํารองไปยังสํานักระหวางประเทศภายในระยะเวลา สองเดือนนับแตวันที่ผูขอไดรับแจงผลการพิจารณา เพื่อขอใหสํานักระหวางประเทศจัดสงคําขอระหวาง ประเทศนั้นมายังกรมทรัพยสินทางปญญา

                 หากปรากฏแกพนักงานเจาหนาที่วาผลการพิจารณาคําขอระหวางประเทศตามวรรคหนึ่ง เกิดจากความผิดพลาดหรือความละเลยของสํานักงานรับคําขอในประเทศภาคีแหงสนธิสัญญา หรือสํานัก ระหวางประเทศ ใหพนักงานเจาหนาที่ดําเนินการกับคําขอระหวางประเทศนั้นตามขั้นตอนที่กําหนดใน พระราชบัญญัตินี้ตอไป และใหถือวาคําขอระหวางประเทศดังกลาวเปนคําขอรับสิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตร ที่ ไดยื่นตอกรมทรัพยสินทางปญญาในวันที่ระบุวาเปนวันยื่นคําขอระหวางประเทศ

               มาตรา 55/10 เมื่อครบกําหนดระยะเวลาสามสิบเดือนนับแตวันยื่นคําขอครั้งแรกและได รับคําแปลของคําขอระหวางประเทศแลว ใหพนักงานเจาหนาที่ดําเนินการตรวจสอบคําขอและประกาศ โฆษณาตามมาตรา ๒๘ ตอไป เวนแตผูขอไดยื่นคํารองขอใหดําเนินการกอนครบกําหนดระยะเวลาดังกลาว

                มาตรา 55/11 คายื่นคําขอระหวางประเทศ และคาตรวจคนระหวางประเทศ ใหเปนไป ตามที่อธิบดีประกาศตามที่สํานักระหวางประเทศ และองคกรตรวจคนระหวางประเทศกําหนด

              คาดําเนินการเพื่อจัดสงคําขอระหวางประเทศ คาธรรมเนียมการขอฟนสิทธิ และ คาธรรมเนียมลาชา ใหเปนไปตามที่กําหนดตามบัญชีทายพระราชบัญญัตินี้”

              มาตรา 38 ใหยกเลิกความในมาตรา 65 จัตวา แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 และใหใชความตอไปนี้แทน

              “มาตรา ๖๕ จัตวา ผูขอรับอนุสิทธิบัตรหรือผูขอรับสิทธิบัตรมีสิทธิขอเปลี่ยนแปลงประเภท ของสิทธิที่จะขอรับจากอนุสิทธิบัตรเปนสิทธิบัตร หรือจากสิทธิบัตรเปนอนุสิทธิบัตรไดกอนการจดทะเบียนการ ประดิษฐ และออกอนุสิทธิบัตร หรือกอนสิ้นสุดระยะเวลา 4 ปนับแตวันยื่นคําขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ แลวแตกรณี และผูขอมีสิทธิใหถือเอาวันยื่นคําขอเดิมเปนวันยื่นคําขอ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑและวิธีการที่ กําหนดโดยกฎกระทรวง”

              มาตรา 39 ใหยกเลิกความในมาตรา 65 เบญจ แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 และใหใชความตอไปนี้แทน

             “มาตรา 65 เบญจ เมื่อพนักงานเจาหนาที่เสนอรายงานการตรวจสอบตออธิบดีแลว ให อธิบดีมีคําสั่งใหจดทะเบียนการประดิษฐและออกอนุสิทธิบัตร หากพิจารณาเห็นวา

              (๑) สิ่งที่ขอรับอนุสิทธิบัตรเปนการประดิษฐตามมาตรา 3

              (2) คําขอรับอนุสิทธิบัตรถูกตองตามมาตรา 65 ทศ ประกอบดวยมาตรา 16 และมาตรา 17 และ

              (3) สิ่งนั้นไดรับการคุมครองตามมาตรา 65 ทศ ประกอบดวยมาตรา 9

              กอนจดทะเบียนการประดิษฐและออกอนุสิทธิบัตร ใหพนักงานเจาหนาที่แจงใหผูขอรับอนุ สิทธิบัตรชําระคาธรรมเนียมการออกอนุสิทธิบัตรและคาธรรมเนียมประกาศโฆษณาโดยทางไปรษณีย ลงทะเบียนตอบรับหรือโดยวิธีการอื่นที่อธิบดีกําหนด หากผูขอรับอนุสิทธิบัตรไมชําระคาธรรมเนียมการออก อนุสิทธิบัตรและคาธรรมเนียมประกาศโฆษณาภายในหกสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจง ใหพนักงานเจาหนาที่มี หนังสือแจงผูขอรับอนุสิทธิบัตรโดยทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับหรือโดยวิธีการอื่นที่อธิบดีกําหนดอีกครั้ง หนึ่ง และหากผูขอรับอนุสิทธิบัตรยังไมชําระคาธรรมเนียมการออกอนุสิทธิบัตรและคาธรรมเนียมประกาศ โฆษณาภายในหกสิบวันนับแตวันไดรับแจงดังกลาวอีก ใหถือวาผูขอรับอนุสิทธิบัตรละทิ้งคําขอรับอนุสิทธิบัตร

              ในกรณีที่อธิบดีพิจารณาเห็นวาคําขอรับอนุสิทธิบัตรไมเปนไปตาม (1) (2) หรือ (3) ใหอธิบดี สั่งยกคําขอรับอนุสิทธิบัตรนั้น และใหพนักงานเจาหนาที่มีหนังสือแจงคําสั่งโดยทางไปรษณียลงทะเบียนตอบ รับไปยังผูขอรับอนุสิทธิบัตรหรือโดยวิธีการอื่นที่อธิบดีกําหนดภายในสิบหาวันนับแตวันที่อธิบดีมีคําสั่ง

             อนุสิทธิบัตรใหเปนไปตามแบบที่กําหนดโดยกฎกระทรวง”

             มาตรา 40 ใหยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา 65 ฉ แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 และใหใชความตอไปนี้แทน

             “มาตรา ๖๕ ฉ บุคคลใดอาจขอใหตรวจสอบวาการประดิษฐที่ไดรับอนุสิทธิบัตรมีลักษณะ ตามที่กําหนดในมาตรา ๖๕ ทวิ หรือไมก็ได”

              มาตรา 41 ใหยกเลิกความในมาตรา 65 ทศ แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 และใหใชความตอไปนี้แทน

              “มาตรา ๖๕ ทศ ใหนําบทบัญญัติมาตรา ๖ มาตรา ๘ มาตรา ๙ มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๑ มาตรา ๑๒ มาตรา ๑๓ มาตรา ๑๔ มาตรา ๑๕ มาตรา ๑๖ มาตรา ๑๗ มาตรา ๑๘ มาตรา ๑๙ มาตรา ๑๙ ทวิ มาตรา ๒๐ มาตรา ๒๑ มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓ มาตรา ๒๕ มาตรา ๒๖ มาตรา 26/1 มาตรา ๒๗ มาตรา 34/1 มาตรา ๓๕ ทวิ มาตรา ๓๖ มาตรา ๓๖ ทวิ มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๑ มาตรา 41/1 มาตรา ๔๒ มาตรา ๔๓ มาตรา ๔๔ มาตรา ๔๕ มาตรา ๔๖ มาตรา ๔๗ มาตรา ๔๗ ทวิ มาตรา ๔๙ มาตรา ๕๐ มาตรา 50/1 มาตรา ๕๐ ทวิมาตรา ๕๑ มาตรา 51/1 มาตรา ๕๒ มาตรา ๕๓ มาตรา 53/1และมาตรา ๕๕ ในหมวด ๒ วาดวยสิทธิบัตรการประดิษฐมาใชบังคับในหมวด ๓ ทวิ วาดวยอนุสิทธิบัตรโดย อนุโลม”

               มาตรา 42 ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนวรรคสามของมาตรา 67 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522

               “เมื่อครบกําหนดตามวาระในวรรคหนึ่ง หากยังมิไดมีการแตงตั้งกรรมการผูทรงคุณวุฒิขึ้น ใหม ใหกรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งพนจากตําแหนงตามวาระนั้นอยูในตําแหนงเพื่อดําเนินงานตอไปจนกวา กรรมการผูทรงคุณวุฒิซึ่งไดรับแตงตั้งใหมเขารับหนาที่”

             มาตรา 43 ใหยกเลิกความใน (2) ของมาตรา 70 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๔๒ และใหใชความตอไปนี้แทน

              “(๒) วินิจฉัยอุทธรณคําสั่งหรือคําวินิจฉัยของอธิบดีเกี่ยวกับสิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตรตาม มาตรา ๔๑ มาตรา 43 มาตรา ๔๕ มาตรา ๔๙ มาตรา ๕๐ มาตรา ๕๕ มาตรา ๖๕ ฉ หรือมาตรา ๖๕ ทศ ประกอบดวยมาตรา 43 มาตรา ๔๕ หรือมาตรา ๗๒”

                มาตรา 44 ใหยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา 72 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 และใหใชความตอไปนี้แทน

                 “มาตรา ๗๒ ในกรณีที่มีคําสั่งหรือคําวินิจฉัยของอธิบดีตามมาตรา ๑๒ มาตรา ๑๕ มาตรา ๒๘ มาตรา ๓๐ มาตรา ๓๓ มาตรา ๓๔ มาตรา ๔๙ มาตรา ๕๐ มาตรา 50/1 มาตรา ๕๐ ทวิหรือมาตรา ๖๑ หรือมาตรา ๖๕ ประกอบดวยมาตรา ๑๒ มาตรา ๑๕ มาตรา ๒๘ มาตรา 32/1 (๒) มาตรา ๓๓ หรือ มาตรา ๓๔ หรือมาตรา ๖๕ เบญจ หรือมาตรา ๖๕ ฉ หรือมาตรา ๖๕ ทศ ประกอบดวยมาตรา ๑๒ มาตรา ๑๕ มาตรา ๔๙ มาตรา ๕๐ หรือมาตรา 50/1 ผูมีสวนไดเสียตามมาตราดังกลาวมีสิทธิอุทธรณตอ คณะกรรมการภายในหกสิบวันนับแตวันที่ไดรับแจงคําสั่งหรือคําวินิจฉัยของอธิบดี ถาไมอุทธรณภายใน ระยะเวลาดังกลาว ใหถือวาคําสั่งหรือคําวินิจฉัยของอธิบดีเปนที่สุด”

                  มาตรา 45 ใหยกเลิกความในมาตรา 73 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 และใหใชความตอไปนี้แทน

                 “มาตรา ๗๓ ในการพิจารณาอุทธรณคําสั่ง หรือคําวินิจฉัยของอธิบดี หรือพิจารณารายงาน การสอบสวนของอธิบดีตามมาตรา ๕๕ หรือมาตรา 65 ฉ เพื่อสั่งเพิกถอนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร คณะกรรมการจะใหผูคัดคาน หรือผูโตแยง หรือผูทรงสิทธิบัตร หรือผูทรงอนุสิทธิบัตร หรือผูขอใหตรวจสอบ อนุสิทธิบัตร หรือผูไดรับอนุญาตใหใชสิทธิบัตรหรือตามอนุสิทธิบัตร แลวแตกรณี นําพยานหลักฐานมาแสดง หรือแถลงเพิ่มเติมก็ได ทั้งนี้ ตามระเบียบที่คณะกรรมการกําหนด”

                 มาตรา 46 ใหยกเลิกความในมาตรา 79 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 และให ใชความตอไปนี้แทน

                “มาตรา 79 บรรดาคําขอ คํารอง คําคัดคาน คําโตแยง และคําอุทธรณ ตามพระราชบัญญัติ นี้ ใหใชแบบพิมพและมีสําเนาตามที่อธิบดีกําหนด”

                มาตรา 47 ใหยกเลิกความในมาตรา 80 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 ซึ่ง แกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 และใหใชความตอไปนี้แทน

                “มาตรา ๘๐ บรรดาคําขอรับสิทธิบัตร คําขอรับอนุสิทธิบัตร คําขอใหตรวจสอบการประดิษฐ คําคัดคานการขอรับสิทธิบัตร คํารองเพื่อขอฟนสิทธิวันยื่นคําขอครั้งแรก คํารองเพื่อขอฟนสิทธิคําขอระหวาง ประเทศใหมีผลในประเทศไทย คํารองขอถอนคําขอรับสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร คําขอใหเพิกถอนการ ประดิษฐที่ไดรับอนุสิทธิบัตร คําขอแกไขสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร คําขอจดทะเบียนสัญญาอนุญาตใหใชสิทธิ ตามสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร คําขอจดทะเบียนรับโอนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร คําขอเปลี่ยนแปลงสิทธิบัตร หรืออนุสิทธิบัตร คําขอตออายุอนุสิทธิบัตร คําขอบันทึกคํายินยอมใหบุคคลอื่นใชสิทธิตามสิทธิบัตรหรืออนุ สิทธิบัตร คําขอใชสิทธิตามสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ใบอนุญาตใหใชสิทธิตามสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร คํา อุทธรณคําสั่งหรือคําวินิจฉัยของอธิบดี ใบแทนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ใบแทน ใบอนุญาตใหใชสิทธิ คําขอ อื่นๆ การคัดสําเนาเอกสารและการรับรองสําเนาเอกสาร ใหเสียคาธรรมเนียมตามที่กําหนดโดยกฎกระทรวง”

                 มาตรา 48 ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา 80/1 และมาตรา 80/2 แหงพระราชบัญญัติ สิทธิบัตร พ.ศ. 2522

                “มาตรา 80/1 การยื่นคําขอ การอนุญาต การจดทะเบียน การชําระเงิน การประกาศ โฆษณา หนังสือเรียก หนังสือแจง คําสั่งหรือคําวินิจฉัยใดๆ ของพนักงานเจาหนาที่ อธิบดีหรือคณะกรรมการ หรือหนังสืออื่นใดหรือการดําเนินการใดๆ ใหสามารถกระทําไดในรูปของขอมูลอิเล็กทรอนิกสหรือโดยวิธีการ อื่นที่อธิบดีประกาศกําหนด

                 มาตรา 80/2 ในกรณีที่พนักงานเจาหนาที่ไดสงหนังสือเรียก หนังสือแจง หรือหนังสืออื่นใดที่ มีถึงผูยื่นคําขอ ผูคัดคาน ผูโตแยง หรือบุคคลอื่นใดทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับ ใหสง ณ สํานักงานหรือ สถานที่ที่ระบุไวในคําขอ

                ถาไมสามารถสงตามวิธีดังกลาวในวรรคหนึ่งได จะใหพนักงานเจาหนาที่นําหนังสือนั้นไปสง หรือจะสงโดยทางไปรษณียลงทะเบียนตอบรับอีกครั้งหนึ่งก็ได ในกรณีที่ใหพนักงานเจาหนาที่นําหนังสือนั้นไป สง ถาไมพบผูรับจะสงใหแกบุคคลใดซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวและอยูหรือทํางานในสํานักงานหรือสถานที่ดังกลาว หรือจะปดหนังสือนั้นไวในที่ซึ่งเห็นไดงาย ณ สํานักงานหรือสถานที่ดังกลาวของผูรับนั้นก็ได

                เมื่อไดสงตามวิธีการดังกลาวในวรรคสองและเวลาไดลวงพนไปเจ็ดวันแลว ใหถือวาบุคคลนั้น ไดรับหนังสือนั้นแลว”

                 มาตรา 49 ใหเพิ่มความตอไปนี้เปนมาตรา 87/1 แหงพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522

                 “มาตรา 87/1 บุคคลใดยื่นขอรับสิทธิบัตรการประดิษฐ หรือการออกแบบผลิตภัณฑ หรือ อนุสิทธิบัตร โดยปกปดหรือแสดงขอความอันเปนเท็จหรือแสดงขอความไมครบถวนเกี่ยวกับแหลงที่มาของ ทรัพยากรพันธุกรรม หรือภูมิปญญาทองถิ่น หรือเกี่ยวกับการขออนุญาตกอนการเขาถึงและขอตกลงแบงปน ผลประโยชน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกินหาพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ”

บทเฉพาะกาล

(อยูระหวางการยกราง)

บัญชีอัตราคาธรรมเนียม

(อยูระหวางการยกราง)

สํานักกฎหมาย กรมทรัพยสินทางปญญา / 19 พฤษภาคม 2560

หมายเหตุ

1.ใชเพื่อประกอบการรับฟงความคิดเห็นเบื้องตนระหวางวันที่ 19 พ.ค. 60 – 1 มิ.ย. 60 เทานั้น

2.รางพระราชบัญญัติฉบับนี้ จัดเตรียมขึ้นโดยฝายเลขานุการคณะกรรมการพัฒนากฎหมายวาดวยสิทธิบัตรโดยผานการพิจารณาของ คณะอนุกรรมการยกรางกฎหมายวาดวยสิทธิบัตรแลว แตยังไมเปนที่ยุติไมสามารถใชอางอิงในทางกฎหมายได้

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *

Weekly Reload Bonus - Neon 54 casino! Immediate Vault Immediate Byte Pro Invest Wave Max Cógaslann ar líne Clonaslee Pharmacy leis na praghsanna is fearr in Éirinn